จดทะเบียนบริษัทป้อมปราบศัตรูพ่าย

ย่านธุรกิจดัง คลังแห่งความรู้ สูงเลิศหรูภูเขาทอง วงเวียน 22 กรกฎา เสริมศาสนาบ้านบาตร เชิดชูชาติมวยไทย รวยน้ำใจหลายมูลนิธิ

การจดทะเบียนธุรกิจ ประเภทต่างๆ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับกิจการที่เราจะทำ จำเป็นจะต้องพิจารณาให้ละเอียด เพื่อการเริ่มต้นที่ดี ไม่ว่าจะเป็น เรื่อง ความน่าเชื่อถือ รายได้ต่อปี ประเภทของลูกค้า ทุนจดทะเบียน จำนวนผู้ร่วมลงทุนกับเรา การระดมทุน ความคล่องตัวในการบริหาร ตลอดจนแผนการขยายธุรกิจต่อไปในอนาคต ที่ประเทศไทยจะเข้าร่วมกับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community) หรือเรียกย่อๆว่า AEC ในปี 2558 โดยเราจะเตรียมตัวให้พร้อมการการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก การเลือกจดทะเบียนธุรกิจ สามรถแบ่งออกเป็นประเภทหลักๆดังนี้

จดทะเบียนนิติบุคคลใหม่ แค่ 2 คน ตั้งบริษัทได้ เริ่มใช้ 7 ก.พ. 66

พาณิชย์แง้มข่าวดี พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 23) พ.ศ. 2565 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2565 มีผลบังคับใช้วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 สาระสำคัญ ลดจำนวนผู้เริ่มก่อการจัดตั้งบริษัทจำกัดจาก 3 คน เหลือแค่ 2 คน
วันที่ 6 ธันวาคม 2565 นายสินิตย์ เลิศไกร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ในฐานะหน่วยงานที่กำกับดูแลผู้ประกอบธุรกิจในการจดทะเบียนนิติบุคคล ได้เสนอพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 23) พ.ศ. 2565 และพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมและมูลนิธิ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2565

ทั้งนี้ เพื่อปรับปรุงประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 หุ้นส่วนและบริษัทให้มีความทันสมัย รองรับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี ส่งเสริมให้จัดตั้งบริษัทจำกัดได้ง่ายขึ้น เพิ่มความคล่องตัวในการประกอบธุรกิจ อีกทั้งช่วยให้บริษัทจำกัดสามารถควบรวมกิจการได้มากกว่าหนึ่งลักษณะ

ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างศักยภาพในการแข่งขันของประเทศและสร้างภาพลักษณ์อันดีในการประกอบธุรกิจ รองรับระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ประการสำคัญที่สุดคือ ช่วยลดค่าใช้จ่ายและต้นทุนการดำเนินงานให้ผู้ประกอบธุรกิจตามนโยบายของรัฐบาลอีกทางหนึ่ง

การแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในครั้งนี้ มีประเด็นที่เปลี่ยนแปลงหลายประการ ดังนี้ 1) การยื่นขอจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทสามารถยื่น ณ สำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทที่สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ หรือตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด จากเดิมสำนักงานใหญ่อยู่ในจังหวัดใดต้องจดทะเบียน ณ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดนั้นเท่านั้น
2) รัฐมนตรีมีอำนาจกำหนด ลด หรือยกเว้นค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน การขอตรวจเอกสาร การขอสำเนาเอกสารพร้อมคำรับรอง และค่าธรรมเนียมอื่นที่เกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนและบริษัท หรือกำหนดค่าธรรมเนียมให้แตกต่างกันตามรูปแบบการทำธุรกรรมก็ได้ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนใช้บริการผ่านระบบสารสนเทศมากขึ้น
3) บุคคลตั้งแต่ 2 ขึ้นไปจะเริ่มก่อการและตั้งเป็นบริษัทจำกัดก็ได้ จากเดิมต้อง 3 คนขึ้นไป 4) หนังสือบริคณห์สนธิที่จดทะเบียนไว้ หากไม่ดำเนินการจดทะเบียนบริษัทจำกัดภายใน 3 ปีสิ้นผลทันที จากเดิมที่ไม่มีอายุของการสิ้นผล ทำให้บุคคลอื่นไม่สามารถใช้ชื่อบริษัทที่ปรากฏในหนังสือบริคณห์สนธิที่จดทะเบียนไว้ได้
5) บริษัทใดมีตราประทับต้องประทับตราในใบหุ้นทุกใบ 6) ให้ธุรกิจนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการประชุมกรรมการได้เพิ่มขึ้นอีกวิธีหนึ่ง นอกจากต้องมาประชุม ณ สถานที่นัดประชุมเท่านั้น 7) ยกเลิกการนำหนังสือเชิญประชุมไปลงประกาศในหนังสือพิมพ์ ยกเว้นในกรณีบริษัทจำกัดมีหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือที่ยังต้องโฆษณาในหนังสือพิมพ์ หรือในสื่ออิเล็กทรอนิกส์อยู่

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร

ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของฝั่งพระนคร มีอาณาบริเวณติดต่อกับเขตข้างเคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตดุสิต มีคลองผดุงกรุงเกษมเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตปทุมวัน มีคลองผดุงกรุงเกษมเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้
ติดต่อกับเขตสัมพันธวงศ์ มีถนนพระรามที่ 4 และถนนเจริญกรุงเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตพระนคร มีคลองรอบกรุง (คลองโอ่งอ่าง) และถนนราชดำเนินนอกเป็นเส้นแบ่งเขต

การจดทะเบียนธุรกิจ ประเภทต่างๆ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับกิจการที่เราจะทำ จำเป็นจะต้องพิจารณาให้ละเอียด เพื่อการเริ่มต้นที่ดี ไม่ว่าจะเป็น เรื่อง ความน่าเชื่อถือ รายได้ต่อปี ประเภทของลูกค้า ทุนจดทะเบียน จำนวนผู้ร่วมลงทุนกับเรา การระดมทุน ความคล่องตัวในการบริหาร ตลอดจนแผนการขยายธุรกิจต่อไปในอนาคต ที่ประเทศไทยจะเข้าร่วมกับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community) หรือเรียกย่อๆว่า AEC ในปี 2558 โดยเราจะเตรียมตัวให้พร้อมการการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก การเลือกจดทะเบียนธุรกิจ สามรถแบ่งออกเป็นประเภทหลักๆดังนี้

1. จดทะเบียนพาณิชย์(ร้านค้า) มีสภาพเหมือนบุคคลธรรมดา ก่อตั้ง 1 คน
2. จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญ มีสภาพเหมือนบุคคลธรรมดา ก่อตั้งอย่างน้อย 2 คน
3. จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล มีสภาพเป็นนิติบุคคล ก่อตั้งอย่างน้อย 2 คน
4. จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัด มีสภาพเป็นนิติบุคคล ก่อตั้งอย่างน้อย 2 คน
5. จดทะเบียนบริษัทจำกัด มีสภาพเป็นนิติบุคคล ก่อตั้งอย่างน้อย 3 คน
6. จดทะเบียนบริษัทจำกัด(มหาชน) มีสภาพเป็นนิติบุคคล ก่อตั้งอย่างน้อย 15 คน

หลังจากที่เราเลือกประเภทธุรกิจที่จะจดทะเบียนได้แล้ว ก็ต้องศึกษาและเตรียมเอกสาร ซึ่งการจดทะเบียน ก็มีความยากง่าย จำนวนเอกสาร และหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจดทะเบียน แตกต่างกันไป ถ้าเรามีเวลาก็สามารถไปดำเนินการด้วยตัวเองได้ แต่ไม่มีเวลาก็สามารถเลือกใช้บริการ จดทะเบียนกับ บริษัท ควิกแอคเคาท์ติ้ง จำกัด ซึ่งจะทำให้งานจดทะเบียนธุรกิจเป็นเรื่องง่าย เสร็จทันตามกำหนดในราคาที่เหมาะสม ซึ่งท่านอาจใช้เวลาไปทำหรือเตรียมงานด้านอื่นๆต่อไป

การแบ่งเขตการปกครอง เขตป้อมปราบศัตรูพ่ายแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 5 แขวง (khwaeng) ได้แก่
ป้อมปราบ (Pom Prap)
วัดเทพศิรินทร์ (Wat Thep Sirin)
คลองมหานาค (Khlong Maha Nak)
บ้านบาตร (Ban Bat)
วัดโสมนัส (Wat Sommanat)

ประวัติศาสตร์
อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย ตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงนครบาลเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2458 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) เป็นอำเภอชั้นในอำเภอหนึ่งของกรุงเทพพระมหานคร (เปลี่ยนชื่อมาจากมณฑลกรุงเทพ) ตั้งที่ทำการอยู่บริเวณถนนหลวง หลังวัดเทพศิรินทราวาส ตำบลป้อมปราบศัตรูพ่าย ต่อมาในวันที่ 21 ตุลาคม ปีเดียวกัน ได้มีประกาศกระทรวงนครบาลกำหนดเขตการปกครองในกรุงเทพพระมหานครขึ้นใหม่ โดยกำหนดให้อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่ายรวมอยู่ในท้องที่จังหวัดพระนคร ในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2469 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว) ทางการได้เปลี่ยนแปลงฐานะเขตการปกครองขนาดเล็กที่มีอาณาเขตติดต่อกันใกล้ชิดในจังหวัดพระนคร เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณแผ่นดิน อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่ายจึงถูกลดฐานะลงเป็น กิ่งอำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย ขึ้นกับอำเภอสามยอด จนกระทั่งเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2472 ทางการได้ยุบกิ่งอำเภอป้อมปราบศัตรูพ่ายลง ย้ายที่ว่าการอำเภอสามยอดไปตั้งทำการที่กิ่งอำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย และเรียกชื่อว่า อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 22 ตำบล ในปี พ.ศ. 2481 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล) ทางการได้ปรับปรุงเขตการปกครองใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยให้ยุบรวมอำเภอที่มีขนาดเนื้อที่เล็กและจำนวนประชากรไม่มากเข้าด้วยกัน สำหรับอำเภอป้อมปราบศัตรูพ่ายได้รับโอนพื้นที่ตำบลวัดโสมนัส ตลาดนางเลิ้ง และมหานาคจากอำเภอนางเลิ้งซึ่งถูกยุบลงในคราวนี้ และได้ย้ายที่ว่าการอำเภอไปตั้งที่สามแยกถนนหลานหลวงตัดกับถนนพะเนียง ตำบลวัดโสมนัส ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งที่ว่าการอำเภอนางเลิ้ง ในปี พ.ศ. 2483 มีประกาศเปลี่ยนแปลงเขตตำบลและอำเภอในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี ตำบลมหานาคและตลาดนางเลิ้งถูกยุบรวมเข้ากับตำบลวัดโสมนัส ตำบลบ้านบาตรถูกยุบไปรวมกับตำบลวัดเทพศิรินทร์และป้อมปราบศัตรูพ่าย ตำบลโรงเลี้ยงเด็กและสวนมะลิถูกยุบรวมเข้ากับตำบลวัดเทพศิรินทร์ และตำบลวรจักรถูกยุบรวมเข้ากับตำบลป้อมปราบศัตรูพ่าย จากนั้นกระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองในจังหวัดพระนครใหม่อีกครั้งเมื่อปี พ.ศ. 2490 ครั้งนี้กำหนดให้อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่ายแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 5 ตำบล ต่อมามีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีในปี พ.ศ. 2514 ซึ่งเป็นปีเดียวกับที่อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่ายได้ย้ายที่ว่าการจากถนนหลานหลวงไปตั้งอยู่ที่ถนนศุภมิตร ตำบลวัดโสมนัส (ที่ตั้งปัจจุบัน) และในปีถัดมา (พ.ศ. 2515) ก็มีประกาศคณะปฏิวัติเปลี่ยนรูปแบบการบริหารเมืองหลวงใหม่อีกครั้งจากนครหลวงกรุงเทพธนบุรี เป็นกรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอป้อมปราบศัตรูพ่ายจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย นับแต่นั้น

บริษัท วัน แอคเค้าท์ติ้ง จำกัด ยินดีให้บริการรับจดทะเบียนบริษัท ในเขตพระนคร ทั้ง 12 แขวง

1. งานด้านจดทะเบียนธุรกิจ ทุกประเภท
1.1 จดทะเบียนบริษัทจำกัด
1.2 จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนจำกัด
1.3 จดทะเบียนใบทะเบียนพณิชย์ (ร้านค้า)
1.4 จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญ
1.5 จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล
1.6 จดทะเบียนบริษัทมหาชน
2. งานด้าน บัญชี
2.1 รับวางระบบบัญชี ทั้งระบบ หรือ เฉพาะ แผนก
2.2 รับจัดทำบัญชี รายเดือน รายปี ทำงบส่งผู้บริหาร
2.3 รับตรวจสอบบัญชี ตรวจกิจการ ( BOI ) โดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (ประสบการณ์ งานตรวจ บริษัท องค์กร ขนาดใหญ่)
3. งานด้าน มูลนิธิ สมาคม องค์กรพัฒนาเอกชน "เอ็นจีโอ" (NGOs)
3.1 ให้คำปรึกษา งานจัดตั้ง มูลนิธิ และ สมาคม
3.2 ให้คำปรึกษา จัดอบรมสัมมนา การดำเนินงาน ของ มูลนิธิ และสมาคม
3.3 ให้คำปรึกษา การขออนุญาต ดำเนินงาน ของ องค์กรพัฒนาเอกชน "เอ็นจีโอ" (NGOs)
4. งานบริการ ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนิน ธุรกิจ
4.1 กาจดเปลี่ยนแปลง ที่ตั้งสำนักงาน เพิ่มสาขา เพิ่มทุนจดทะเบียน แก้กรรมการ เข้า-ออก แก้อำนาจกรรมการ เปลี่ยนชื่อบริษัท แปรสภาพห้างหุ้นส่วนเป็นบริษัทจำกัด
4.2 ขึ้นทะเบียนประกันสังคม ขอบัตร นำเข้า-ส่งออก ขอใบอนุญาตธุรกิจท่องเที่ยว
4.3 งานแปล และรับรองเอกสาร เอกสารราชการ การรับรองสัญชาติ
4.4 งานจดเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายบริการ เครื่องหมายร่วม เครื่องหมายรับรอง ชื่อทางการค้า ความลับทางการค้า
4.5 งานขออนุญาตธุรกิจต่างด้าว ขอรับสิทธิส่งเสริมการลงทุน ( BOI )
4.6 ขออนุญาตประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
5 งานบริการ ด้านที่ปรึกษาทางธุรกิจ
5.1 ที่ปรึกษา ด้านการตลาด การประชาสัมพันธ์ จัดงานแถลงข่าว เปิดตัวผลิตภัณฑ์
5.2 ที่ปรึกษา ด้านกฎหมาย การร่างสัญญา กฎหมายแรงงาน
5.3 ที่ปรึกษา ด้านการเงิน การเข้าถึงแหล่งเงินทุน การเขียนแผนเพื่อยื่นขอสินเชื่อ

จดทะเบียนนิติบุคคล ทุกประเภท และให้ทาง วัน แอคเค้าท์ติ้ง ดูแลบัญชี รับฟรี
1.ค่าออกแบบ เว็บไซต์ มูลค่า 7,000 บาท
2.โดเมน .com .net .biz .org .info 1ปี มูลค่า 500 บาท
3.พื้นที่ โฮสติ้ง สำหรับจัดเก็บเว็บไซต์ 1 Gb 1ปี มูลค่า 1,000 บาท
4.ระบบ อีเมล์ บริษัท มูลค่า 2,000 บาท

สนใจ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมฟรี ได้ที่

วันแอคเคาท์ติ้ง
One Accounting
44/14 ซอยนิมิตใหม่ 12 แขวงทรายกองดิน เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510
โทร : 094-869-1111 , 084-622-5555
แฟกซ์ :02-009 3787อีเมล์ : info@oneaccounting.co.th